100 จุดเน้น ฟิสิกส์ ม.4-5-6 (ฉบับปรับปรุงใหม่)

This document was uploaded by one of our users. The uploader already confirmed that they had the permission to publish it. If you are author/publisher or own the copyright of this documents, please report to us by using this DMCA report form.

Simply click on the Download Book button.

Yes, Book downloads on Ebookily are 100% Free.

Sometimes the book is free on Amazon As well, so go ahead and hit "Search on Amazon"

หนังสือ 100 จุดเน้น ฟิสิกส์ ม.4-5-6 (ฉบับปรับปรุงใหม่) เล่มนี้ จัดทำขึ้นเพื่อสรุปทฤษฎี สูตรที่สำคัญ และตัวอย่างข้อสอบวิชาฟิสิกส์ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย สำหรับนำไปใช้เตรียมตัวสอบในโรงเรียน สอบเข้ามหาวิทยาลัย ในวิชาสามัญ ฟิสิกส์, PAT 2, PAT 3 การสอบชิงทุนและการสอบแข่งขันต่างๆ ภายในหนังสือประกอบด้วย 1. สรุปเนื้อหาที่สำคัญ 100 จุด สำหรับการเตรียมตัวสอบวิชาฟิสิกส์ในระดับมัธยมศึกษาตอนปลายและการสอบเข้ามหาวิทยาลัย 2. แบบฝึกทักษะวิชาการหรือข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัยพร้อมเฉลยอย่างละเอียด จำนวน 500 ข้อ และเพิ่มเติมตัวอย่างข้อสอบกลศาสตร์ของวิชาสามัญ ฟิสิกส์ 3. ข้อควรทราบหรือสิ่งที่ควรจำ สำหรับนำไปใช้แก้โจทย์ปัญหาฟิสิกส์ หนังสือเล่มนี้เหมาะสำหรับนักเรียนที่เรียนวิชาฟิสิกส์ในระดับมัธยมศึกษาตอนปลายใช้ทบทวน ฝึกฝน ให้เข้าใจรูปแบบข้อสอบวิชาฟิสิกส์มากยิ่งขึ้น และเหมาะสำหรับครูผู้ช่วยวิชาฟิสิกส์ใช้ในการเตรียมความพร้อมให้นักเรียนเพื่อสอบเข้ามหาวิทยาลัย

Author(s): อวิรุทธิ์ วิเศษชาติ
Publisher: ไฮเอ็ดพับลิชชิ่ง, บจก.

Language: Thai
Commentary: There're about 5 pages missing throughout the book.
Pages: 455
Tags: highschool, exams

คำนำ
สารบัญ
หน่วยที่ 1 การวัดและการแปลความหมายข้อมูล
จุดเน้นที 1 ปริมาณทางฟิสิกส์ หน่วยของการวัด จํานวนพหุคูณ และคําอุปสรรค
จุดเน้นที 2 การบันทึกผลการวัด และเลขนัยสําคัญ
จุดเน้นที่ 3 ปริมาณสเกลาร์ และปริมาณเวกเตอร์
หน่วยที่ 2 การเคลื่อนทิแนวตรง
จุดเน้นที 4 ระยะทาง การกระจัด อัตราเร็ว ความเร็ว ความเร่ง เครื่องเคาะสัญญาณเวลา
จุดเน้นที่ 5 กราฟแสดงการเคลื่อนที่ของวัตถุในแนวตรง
จุดเน้นที 6 การเคลื่อนที่แนวตรงด้วยความเร่งคงตัว
จุดเน้นที่ 7 การตกอย่างอิสระภายใต้แรงดึงดูดของโลก
หน่วยที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่
จุดเน้นที่ 8 แรง มวล นําหนัก แรงเสียดทาน
จุดเน้นที่ 9 กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
จุดเน้นที่ 10 การใช้กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
จุดเน้นที 11 กฎของแรงดึงดูดระหว่างมวล
หน่วยที่ 4 สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
จุดเน้นที 12 ประเภทของสมดุลและเงื่อนไขของแรงกระทําเมื่อวัตถุอยู่ในสมดุล
จุดเน้นที่ 13 จุดศูนย์กลางมวลและจุดศูนย์ถ่วง
จุดเน้นที่ 14 โมเมนต์และสมดุลต่อการหมุน
จุดเน้นที่ 15 การไถลและการล้มของวัตถุ
จุดเน้นที่ 16 สภาพยืดหยุ่น
หน่วยที่ 5 งานและพลังงาน
จุดเน้นที 17 งาน กําลัง
จุดเน้นที่ 18 พลังงานกล
จุดเน้นที่ 19 กฎการอนุรักษ์พลังงาน
จุดเน้นที่ 20 สมการงานและพลังงาน (เมื่อมีแรงภายนอกมากระทําต่อวัตถุ)
หน่วยที่ 6 โมเมนตัม
จุดเน้นที 21 โมเมนตัม การดล แรงดล
จุดเน้นที่ 22 กฎการอนุรักษ์โมเมนตัมและการชน
จุดเน้นที 23 การชนแบบ 1 มิติ
จุดเน้นที่ 24 การชนแบบ 2 มิติ
จุดเน้นที 25 การเคลื่อนที่ของศูนย์กลางมวลของระบบ การระเบิดเป็นสองส่วนจากสภาวะเดิมนิง และการระเบิดเป็นสองส่วนจากสภาวะเดิมเคลื่อนที่
หน่วยที่ 7 โพรเจกไทล์
จุดเน้นที่ 26 ลักษณะการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
จุดเน้นที 27 การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์บนพื้นเอียง
จุดเน้นที 28 การประยุกต์การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
หน่วยที่ 8 การเคลื่อนที่แนววงกลม
จุดเน้นที่ 29 ลักษณะการเคลื่อนที่แนววงกลม และปริมาณต่างๆ ทีเกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่แนววงกลม
จุดเน้นที่ 30 การคํานวณการเคลื่อนที่แบบวงกลมในรูปแบบต่างๆ
จุดเน้นที่ 31 กฎของเคปเลอร์กับการเคลื่อนที่ของดาวเคราะห์ และการเคลื่อนที่ของดาวเทียม
หน่วยที่ 9 การเคลื่อนที่แบบหมุน
จุดเน้นที 32 ลักษณะการเคลื่อนที่และปริมาณต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่แบบหมุน
จุดเน้นที่ 33 โมเมนต์ความเฉื่อย ทอร์ก และโมเมนตัมเชิงมุม
จุดเน้นที่ 34 กฎการอนุรักษ์โมเมนตัมเชิงมุม
หน่วยที่ 10 การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย
จุดเน้นที 35 ลักษณะการเคลื่อนที่และปริมาณต่างๆ ทีเกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย
จุดเน้นที่ 36 การแกว่งของลูกตุ้มอย่างง่าย
จุดเน้นที่ 37 การแกว่งของมวลติดปลายสปริง
หน่วยที่ 11 ของไหล
จุดเน้นที 38 ความหนาแน่น ความดัน แรงดัน
จุดเน้นที 39 เครื่องมือวัดความดันและความหนาแน่นของของไหล
จุดเน้นที 40 กฎของปาสกาลและเครื่องอัดไฮดรอลิก
จุดเน้นที 41 แรงพยุง และหลักของอาร์คิมีดีส
จุดเน้นที 42 ความตึงผิว ความหนืด
จุดเน้นที 43 พลศาสตร์ของของไหล
หน่วยที่ 12 ความร้อน สมบัสิของแก๊สและทฤษฎีจลน์
จุดเน้นที 44 พลังงานความร้อน การถ่ายเทความร้อนและสมดุลความร้อน
จุดเน้นที 45 พลังงานความร้อนกับพลังงานรูปแบบอื่นๆ
จุดเน้นที 46 สมบัติของแก๊สอุดมคติ กฎของแก๊สจากการทดลอง
จุดเน้นที 47 แบบจําลองแก๊สและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
จุดเน้นที่ 48 พลังงานภายในระบบ งานจากการเปลี่ยนปริมาตรของแก๊ส และกฎข้อที่ 1 ของเทอร์มอไดนามิกส์
หน่วยที่ 13 เสียงและการได้ยิน
จุดเน้นที 49 การจําแนกประเภทของคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น การศึกษาคลื่นด้วยถาดคลื่น
จุดเน้นที่ 50 การสะท้อนและการหักเหของคลื่น
จุดเน้นที่ 51 การแทรกสอด การเลี้ยวเบนของคลื่น และคลื่นนิ่งในเส้นเชือก
หน่วยที่ 14 เสียงและการได้ยิน
จุดเน้นที่ 52 การเกิดคลื่นเสียง ความถี่ อัตราเร็ว และความยาวคลื่นเสียง
จุดเน้นที่ 53 สมบัติของเสียง
จุดเน้นที่ 54 บีตส์และคลื่นนิ่งของเสียง
จุดเน้นที 55 การสันพ้อง
จุดเน้นที่ 56 ความเข้มและระดับความเข้มเสียง
จุดเน้นที่ 57 ปรากฏการณ์ดอปเพลอร์
จุดเน้นที่ 58 คลื่นกระแทก
หน่วยที่ 15 แสงเชิงฟิสิกส์
จุดเน้นที่ 59 การแทรกสอดและการเลี้ยวเบนของแสง
จุดเน้นที่ 60 การแทรกสอดของแสงจากเกรตติง โพลาไรเซชันของแสง
หน่วยที่ 16 แสงและการมองเห็น
จุดเน้นที่ 61 การเคลื่อนที่และการวัดอัตราเร็วแสง
จุดเน้นที่ 62 การสะท้อนของแสงจากกระจกเงาราบและกระจกเงาโค้ง
จุดเน้นที่ 63 การหักเหของแสง กฎของสเนลล์ และระยะลึกจริงลึกปรากฏ
จุดเน้นที่ 64 เลนส์บางและทัศนอุปกรณ์
จุดเน้นที่ 65 ความสว่างและการเห็นสี
หน่วยที่ 17 ไฟฟ้าสถิต
จุดเน้นที่ 66 ประจุไฟฟ้า การทําให้วัตถุที่เป็นกลางเกิดมีประจุ การตรวจสอบประจุ
จุดเน้นที่ 67 แรงระหว่างประจุและกฎของคูลอมบ์
จุดเน้นที่ 68 สนามไฟฟ้า
จุดเน้นที 69 ศักย์ไฟฟ้า
จุดเน้นที 70 การเคลื่อนที่ของประจุไฟฟ้ากับหลักการอนุรักษ์พลังงานกล
จุดเน้นที 71 ตัวเก็บประจุ ความจุไฟฟ้า และการต่อตัวเก็บประจุ
หน่วยที 18 ไฟฟ้ากระแส
จุดเน้นที่ 72 แหล่งกําเนิดไฟฟ้า กระแสไฟฟ้าในตัวนํา
จุดเน้นที่ 73 ความด้านทาน กฎของโอห์ม สภาพด้านทาน และสภาพนําไฟฟ้า
จุดเน้นที่ 74 การต่อตัวด้านทาน
จุดเน้นที่ 75 วงจรไฟฟ้าและการต่อเซลล์ไฟฟ้า
จุดเน้นที่ 76 กฎของเคอร์ชอฟ และความต่างศักย์ระหว่างปลายความด้านทานที่มีเซลล์ไฟฟ้าแทรกอยู่
จุดเน้นที่ 77 แกลแวนอมิเตอร์ แอมมิเตอร์ โวลด์มิเตอร์ โอห์มมิเตอร์
จุดเน้นที่ 78 พลังงานไฟฟ้า กําลังไฟฟ้า การคิดค่าไฟ การต่อวงจรไฟฟ้าในบ้าน
หน่วยที่ 19 แม่เหล็ก
จุดเน้นที่ 79 สนามแม่เหล็กและความเข้มสนามแม่เหล็ก
จุดเน้นที 80 แรงกระทําต่ออนุภาคที่มีประจุไฟฟ้าที่เคลื่อนที่ในบริเวณที่มีสนามแม่เหล็ก
จุดเน้นที่ 81 แรงระหว่างลวดตัวนําที่มีกระแสไฟฟ้าผ่าน เมื่อวางอยู่ในบริเวณที่มีสนามแม่เหล็ก
จุดเน้นที่ 82 สนามแม่เหล็กที่เกิดจากกระแสไฟฟ้าทีไหลผ่านลวดตัวนํา แรงระหว่างลวดตัวนําขนานและมีกระแสไฟฟ้าไหลผ่าน
จุดเน้นที 83 โมเมนต์คู่ควบที่เกิดขึ้นบนลวดที่อยู่ในสนามแม่เหล็ก
จุดเน้นที 84 กระแสเหนี่ยวนํา
จุดเน้นที 85 หม้อแปลงไฟฟ้า
หน่วยที่ 20 ไปฟ้ากระแสสลับ
จุดเน้นที 86 ไฟฟ้ากระแสสลับและความต่างศักย์ไฟฟ้า วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ
จุดเน้นที 87 วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ พิ0 ที่ต่อแบบอนุกรม และต่อแบบขนาน
หน่วยที่ 21 คลี่นแม่เหล็กไฟฟ้า
จุดเน้นที 88 สเปกตรัมของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
หน่วยที่ 22 ฟิสิกส์อะตอม
จุดเน้นที 89 วิวัฒนาการทางทฤษฎีอะตอม และการค้นพบอิเล็กตรอน
จุดเน้นที่ 90 แบบจําลองอะตอมของทอมสัน รัทเทอร์ฟอร์ด สเปกตรัมของธาตุ การแผ่รังสีของวัตถุดํา
จุดเน้นที่ 91 แบบจําลองอะตอมของโบร์
จุดเน้นที 92 การทดลองของฟรังก์และเฮิรตซ์ รังสีเอกซ์
จุดเน้นที 93 ปรากฏการณ์โฟโตอิเล็กทริก ปรากฏการณ์คอมป์ตัน
จุดเน้นที่ 94 สมมติฐานของเดอบรอยล์และกลศาสตร์ควอนตัม
หน่วยที่ 23 ฟิสิกส์นิวเคลียร์
จุดเน้นที่ 95 สัญลักษณ์ของธาตุ การค้นพบกัมมันตภาพรังสี
จุดเน้นที่ 96 การสลายตัวของกัมมันตรังสี
จุดเน้นที่ 97 เวลาครึ่งชีวิต และอัตราการสลายตัวของนิวเคลียส
จุดเน้นที่ 98 การทอดลูกเต๋ากับการสลายตัวของธาตุกัมมันตรังสี
จุดเน้นที 99 ขนาดของนิวเคลียส มวลและพลังงาน
จุดเน้นที 100 ปฏิกิริยานิวเคลียร์