BIOLOGY ชีววิทยา

This document was uploaded by one of our users. The uploader already confirmed that they had the permission to publish it. If you are author/publisher or own the copyright of this documents, please report to us by using this DMCA report form.

Simply click on the Download Book button.

Yes, Book downloads on Ebookily are 100% Free.

Sometimes the book is free on Amazon As well, so go ahead and hit "Search on Amazon"

สรุปสาระสำคัญทั้งความรู้พื้นฐานและเนื้อหาที่ใช้สำหรับในการต่อยอดทางด้าน...ชีววิทยา เหมาะสำหรับนักเรียนในระดับมัธยมศึกษา และนักเรียนที่เตรียมตัวสอบแข่งขันในระดับต่างๆ อาทิ สอวน. ชีวิทยารอบแรก หรือ การสอบคัดเลือกเพื่อศึกษาต่อในระดับมหาวิทยาลัย โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในสาขาชีววิทยาโดยตรง หรือในสาขาวิทยาศาสตร์สาธารณสุขกลุ่มต่างๆ นอกจากนี้ ยังเหมาะกับบุคคลทั่วไปที่มีความสนใจเพิ่มเติมทางด้านชีววิทยาอีกด้วย

Author(s): ศุภณัฐ ไพโรหกุล
Edition: 1
Year: 2016

Language: Thai
Pages: 567
Tags: biology, highschool

สารบัญ
หน่วยที่ 1 ชีวเคมีและชีววิทยาของเซลล์ (Biochemistry and Cell Biology)
บทที่ 1 บทนําเกี่ยวกับชีววีทยา (Introduction to Biology)
1. ลักษณะของสิ่งมีชีวิต (Characteristics of Life)
2. ชีววิทยาและกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ (Biology and Scientific Process)
บทที่ 2 เคมีในสิ่งมีซีวิต (The Chemistry of Life)
1. ทบทวนหลักเคมีพื้นฐานที่จําเป็น (Revision of Basic Chemistry)
2. ตาร์โบไฮเครต (Carbohydrate)
3. กรตอะมิโนและโปรตืน (Amino Acid and Protein)
4. ลิพิต (Lipid)
5. กรตนิวคลีอิก (Nucleic Acid)
บทที่ 3 โครงสร้างและการท้างานของเซตล์ (Cell Structure and Function)
1. บทนําเบื้องต้นเกี่ยวกับเซลล์ (Introduction to Cell)
2. กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
3. ประเภทของเซลล์ (Cell Types: Prokaryotic Cell vs. Eukaryotic Cell)
4. โครงสร้างของเซลล์ยูคารีโอต : นิวเคลียสและไรโบโซม (Nucleus and Ribosome)
5. โครงสร้างของเซลล์ยูคาริโอต : ระบบเยื่อหุ้มภายในเซลล์ (Endomembrane System)
6. โครงสร้างของเซลล์ยูคารีโอต : ไมโทคอนเตรียและคลอโรพลาสต์ (Mitochondria and Chioroplast)
7. โครงสร้างของเซลล์ยูคาริโอต : ไซโทสเกเลตอน (Cytoskeleton)
8. โครงสร้างของเซลล์ยูคาริโอต : ผนังเซลล์ (Cell Wall)
บทที่ 4 เมมเบรนและการลําเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์ (Membrane Structure and Function)
1. โครงสร้างของเมมเบรน (Menbrane Structure)
2. การลําเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์ (Cell Transport)
บทที่ 5 พลังงานเอนไซม์และเมแทบอลิซึม (Energy, Enzyme and Metabolism)
1. บทนําเกี่ยวกับพลังงานและเมแทบอลิซึม (Introduction to Energy and Metabolism)
2. โครงสร้างของ ATP (ATP Structure)
3. เอนไซม์ (Enzyme)
บทที่ 6 การหายใจระดับเซลล์ (Cellular Respiration)
1. ปฏิกิริยารีตอกซ์ (Redox Reacton)
2. การหายใจแบบใช้ออกซิเจน (Aerobic Respiraton)
3. การหายใจแบบไม่ใช้ออกซิเจนและการหมัก (Anaerobic Respiration and Fermentation)
4. การสลายโมเลกุลของสารอาหารชนิตอื่น
บทที่ 7 การสังเคราะห์ด้วยแสง (Photosynthesis)
1. บทนําเกี่ยวกับการสังเคราะห์ด้วยแสง (Introduction to Photosynthesis)
2. รงควัตถุที่ใช้ในการสังเคราะห์ด้วยแสง (Photosynthetic Pigments)
3. กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง : ปฏิกิริยาแสง (Light-dependent Reaction)
4. กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง : ปฏิกิริยาการตรึงคาร์บอน (Carbon Fixation)
5. บัจจัยที่มีผลต่อการสังเคราะห์ด้วยแสง
หน่วยที่ 2 โครงสร้างและหน้าที่ของสัตว์ (Animal Structure and Function)
บทที่ 8 เนื้อเยื่อสัตว์และการรักษาตุลยภาพ (Animal Tissues and Homeostasis)
1. เนื้อเยื่อสัตว์พื้นฐาน (Basic Animal Tissues)
2. การรักษาตุลยภาพของร่างกาย (Homeostasis)
บทที่ 9 การรักษาความเข้มขันในร่างกายและการขับถ่าย (Osmoregulation and Excretion)
1. กลไกการรักษาความเข้มขันในร่างกาย (Osmoregulation)
2. การชับถ่ายในสัตว์ (Animal Excretion)
3. การขับถ่ายบัสสาวะในมนุษย์ (Human Excretion)
บทที่ 10 การย่อยอาหารในสัตว์ (Animal Digestion)
1. วิวัฒนาการของระบบย่อยอาหาร (Evoluton of Digestive System)
2. ระบบย่อยอาหารของมนุษย์ (Human Digestive System)
3. กลไกการย่อยอาหารและการตูดซึมอาหาร (Digestion and Absorption mechanism)
บทที่ 11 การลําเลียงสารในสัตว์ (Animal Circulation)
1. การลําเลียงสารในสัตว์ (Animal Crulaton)
2. ระบบหมุนเวียนเลือดในมนุษย์ : หัวใจ (Heart)
3. ระบบหมุนเวียนเลือดในมนุษย์ : เลือด (Blood)
4. ระบบหมุนเวียนเลือดในมนุษย์ : หลอดเลือด (Blood Vessel)
5. ระบบน้้าเหลือง (Lymphatic System)
บทที่ 12 ระบบภูมิคุ้มกัน (Immune System)
1. กลไกการต่อต้านสิ่งแปลกปลอมแบบไม่จําเพาะเจาะจง (Nonspecific Immune Responses)
2. กลไกการต่อต้านสิ่งแปลกปลอมแบบจําเพาะเจาะจง (Specific Immune Response)
3. การก่อภูมิคุ้มกันในร่างกาย (Immunization)
4. ความผิดปกติเกี่ยวกับระบบภูมิคุ้มกัน
บทที่ 13 การแลกเปลี่ยนแก๊ส (Gas Exchange)
1. การแลกเปลี่ยนแก๊สในสัตว์ (Animal Gas Exchange)
2. ระบบหายใจของมนุษย์ (Human Respiratory System)
3. กลไกการหายใจ (Breathing Mechanism)
4. การแลกเปลี่ยนแก๊สที่ถุงลมและเนื้อเยื่อ (Gas Exchanges in Alveoli and Tissues)
5. การลําเลียงแก๊ส (Gas Transport)
6. การควบคุมการหายใจ (Control of Breathing)
บทที่ 14 ระบบประสาทและอวัยวะรับสัมผัส (Nervous System and Sense Organ)
1. ภาพรวมของการทํางานของระบบประสาท (Nervous System - Overview)
2. เซลล์ประสาทและเซลล์เกลีย (Neuron and Glial Cell)
3. ศักย์ไฟฟ้าเยื่อเซลล์และกระแสประสาท (Membrane Potential and Action Potential)
4. การส่งกระแสประสาทบริเวณไซแนปส์ (Synapse)
5. วิวัฒนาการของระบบประสาท (Evolution of Nervous System)
6. ระบบประสาทส่วนกลาง (Central Nervous System: CNS)
7. ระบบประสาทรอบนอก (Peripheral Nervous System: PNS)
8. เซลล์รับความรู้สึกและอวัยวะรับความรู้สึก (Sensory Neuron and Sense Organ)
บทที่ 15 ฮอร์โมนและระบบต่อมไร้ท่อ (Homones and Endocrine System)
1. บทนําเกี่ยวกับฮอร์โมนและต่อมไร้ท่อ (Introduction to Hormone and Endocrine System)
2. ไฮโพทาลามัสและต่อมใต้สมอง (Hypothalamus and Pituitary Gland)
3. ต่อมไทรอยด์และต่อมพาราไทรอยด์ (Thyroid Gland and Parathyroid Gland)
4. ต่อมหมวกไต (Adrenal Gland)
5. ดับอ่อน (Pancreas)
6. ต่อมไพเนียล (Pineal Gland)
บทที่ 16 การเคลื่อนไหวในสัตว์ (Animal Movement)
1. การเคลื่อนไหวในสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและสัตว์
2. กระดูกและข้อต่อ (Bone and Joint)
3. กล้ามเนื้อ (Muscle)
บทที่ 17 การสืบพันธุ์และการเจริญในสัตว์ (Animal Reproduction and Development)
1. วิวัฒนาการของระบบสืบพันธุ์ในสัตว์
2. ระบบสืบพันธุ์เพศชาย (Human Male Reproductive System)
3. ระบบสืบพันธุ์เพตหญิง (Human Female Reproductive System)
4. การเจริญของสัตว์ (Animal Development)
หน่วยที่ 3 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช (Plant Structure and Function)
บทที่ 18 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
1. การจัดระเบียบของร่างกายในพืช (Plant Organization)
2. เนื้อเยื่อพืช (Plant Tissues)
3. โครงสร้างและหน้าที่ของราก (Root Structure and Function)
4. โครงสร้างและหน้าที่ของลําต้น (Stem Stucture and Function)
5. โครงสร้างและหน้าที่ของใบ (Leaf Structure and Function)
บทที่ 19 การลําเลียงน้้าและอาหารในพืช (Plant Water Transport and Phioem Translocation)
1. การลําเลียงน้้าในพืช (Water Transport)
2. ธาตุอาหารและการลําเลียงชาตุอาหารเข้าสู่รากพืช (Mineral Transport)
3. การลําเลียงอาหารในพืช (Phioem Translocation)
บทที่ 20 การสืบพันธุ์และการเจริญของพืชดอก (Flowering Plant Reproduction and Development)
1. วงชีวิต (Life Cycle)
2. โครงสร้างและหน้าที่ของดอก (Flower Structure and Function)
3. การสร้างสปอร์แกมีโทไฟต์และเซลล์สืบพันธุ์ในพืชดอก
4. การถ่ายเรณูการปฏิสนธิและการเจริญในระยะแรกของพืชดอก
5. ผลและเมล็ต (Fruit and Seed)
6. การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืชดอก (Asexual Reproduction in Flowering Plants)
บทที่ 21 การตอบสนองและฮอร์โมนพืช (Plant Responses and Hormones)
1. การเคลื่อนไหวของพืช (Pant Movement)
2. ฮอร์โมนพืช (Plant Hormones)
หน่วยที่ 4 การแบ่งเซลล์และหลักทันธุศาสตร์ (Cell Division and Principles of Genetics)
บทที่ 22 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสและไมโอชิส (Mitosis and Meiosis)
1. ความสัมพันธ์ระหว่าง DNA โครมาทิน และโครโมโซม
2. วัฏจักรเซลล์และการแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส (Cell Cycle and Mitosis)
3. การแบ่งเซลล์แบบไมโอชิส (Meiosis)
4. การแบ่งเซลล์แบบไมโอซิสกับความแปรผันทางพันธุกรรม (Meiosis and Genetic Variation)
บทที่ 23 หลักการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม (Principles of Inheritances)
1. คําศัพท์พื้นฐานในทางพันธุศาสตร์ (Basic Terminology of Genetics)
2. การศึกษารูปแบบการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมของเมนเคลและกฎเมนเคล
3. ความน่าจะเป็นกับพันธุศาสตร์ (Probabiies and Genetics)
4. ส่วนขยายของกฎเมนเตล (Extensions of Mendelian Genetics)
5. ยืนที่อยู่บนโครโมโซมเดียวกัน (Linked Gene)
6. เพศและยืนที่อยู่บนโครโมโซมเพศ (Sex and Sex-linked Inheritance)
7. มนุษยพันธุศาสตร์ (Human Genetics)
8. พันธุศาสตร์เชิงปริมาณ (Quantitative Genetics)
บทที่ 24 หลักพันธุศาสตร์โมเลกุล (Principles of Molecular Genetics)
1. ประวัติการศึกษาคันคว้าโครงสร้างและบทบาทของสารพันธุกรรม
2. การจําลอง DNA (DNA Replication)
3. ภาพรวมของการแสดงออกของยืน (Overview of Gene Expression)
4. การถอตรหัส (Transcription)
5. รหัสพันธุกรรมและการแปลรหัส (Genetic Code and Translation)
6. การกลาย (Mutation)
บทที่ 25 พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยี DNA (Genetics Engineering and DNA Technology)
1. พันธุวิศวกรรมและการโคสนยืน (Genetic Engineerng and Gene Cloning)
2. การประยุกต์ใช้ความรู้ทางต้านพันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยี DNA
หน่วยที่ 5 วิวัฒนาการ (Evolution)
บทที่ 26 วิวัฒนาการ (Evolution)
1. การพัฒนาแนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการ (Development of Evolutionary Thoughts)
2. ทฤษฎีการคัดเลือกทางธรรมชาติ (Natural Selecton)
3. หลักฐานในการศึกษาวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต (Evidences of Evoluion)
4. พันธุศาสตร์ประชากรเบื้องต้น (Introduction to Population Genetics)
5. วิวัฒนาการระดับจุลภาค (Microevolution)
6. การเกิตสบีซีส์ใหม่และวิวัฒนาการระดับมหภาค (Specition and Macroevoluton)
7. วิวัฒนาการมนุษย์ (Human Evolution)
หน่วยที่ 6 ความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity)
บทที่ 27 หลักอนุกรมวิชานและความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต (Principles of Taxonomy and Biodiversity)
1. หลักอนุกรมวิธานเบื้องต้น (Introduction to Taxonomy)
2. อาณาจักรและโดเมนของสิ่งมีชีวิต (Kingdom อกส Domain of Life)
3. โพรคาริโอด (Prokaryotes)
4. โพรทิสต์ (Protists)
5. พืช (Plants)
6. อาณาจักรพั้งไจ (Kingdom Fungi)
7. อาณาจักรสัตว์ (Kingdom Animalia)
หน่วยที่ 7 พฤติกรรมสัตว์และหลักนิเวศวิทยา (Animal Behavior and Princples of Ecology)
บทที่ 28 พฤติกรรมสัตว์ (Animal Behavior)
1. ประเภทของพฤติกรรม (Types of Behaviors)
2. วิวัฒนาการของพฤติกรรม (Evolution of Behavior)
3. การสื่อสารในสัตว์ (Animal Communication)
4. พฤติกรรมทางสังคม (Social Behavior)
บทที่ 29 หลักนิเวศวิทยา (Princiles of Ecology)
1. นิเวศวิทยาระดับสิ่งมีชีวิต (Organismal Ecology)
2. นิเวศวิทยาระดับประชากร (Population Ecology)
3. นิเวศวิทยาระดับกลุ่มสิ่งมีชีวิต (Community Ecology)
4. นิเวศวิทยาระดับระบบนิเวศ (Ecosystem Ecology)
บรรณานุกรม